facebook  youtube  line

8 วิธีคิด เลี้ยงลูกให้มีความสุขฉบับพ่อแม่ไทย จะเลี้ยงลูกยุคไหนก็ได้ใช้ได้ผล

เลี้ยงลูกให้มีความสุข, การเลี้ยงลูก, วิธีทำให้ครอบครัวมีความสุข, ห้องเรียนพ่อแม่, คู่มือพ่อแม่มือใหม่, Functional Family, Dysfunctional Family, ครอบครัวบกพร้องหน้าที่, เลี้ยงลูกแบบคนไทย, เลี้ยงลูกสไตล์ไทย, เลี้ยงลูกเชิงบวก

8 วิธีคิด เลี้ยงลูกให้มีความสุขฉบับพ่อแม่ไทย จะเลี้ยงลูกยุคไหนก็ได้ใช้ได้ผล

ความสุขของลูกเป็นความสุขของพ่อแม่เช่นกันค่ะ แต่หลายครั้งความรักของพ่อแม่ก็อาจจะทำร้ายลูกได้ในแบบ “พ่อแม่รังแกฉัน” เลี้ยงลูกอย่างไรให้มีความสุขฉบับพ่อแม่ไทย เรามีคำแนะนำค่ะ 

การเลี้ยงลูกให้มีความสุขเป็นอย่างไร

  • ลูกมีความสุขในการเป็นตัวเอง แสดงความคิด ความรู้สึกของตัวเองได้ โดยพ่อแม่รับรู้ รับฟัง และแนะแนวทางอย่างถูกต้อง เพื่อสร้าง Self-Esteem ให้ลูกมีความมั่นใจในการลงมือำสิ่งที่ถูกต้อง สิ่งที่ดี พัฒนาศักยภาพรอบด้านได้อย่างดี
  • พ่อแม่มีความสุขโดยไม่กดดันตัวเองให้เป็นพ่อแม่ที่ดีในสายตาคนอื่น ไม่เข้มงวดตึงมากจนตัวพ่อแม่เองไม่มีความสุขในการเลี้ยงลูก แต่เป็นพ่อแม่ยอมรับในสื่งที่ลูกทำ เข้าใจพัฒนาการตามวัย ส่งเสริมอย่างถูกต้องในฐานะผู้ประคับประคอง ซึ่งนอกจะทำให้ลูกมีความสุขแล้ว พ่อแม่เองก็มีความสุข

วิธีเลี้ยงลูกมีความสุขไม่มีสูตรสำเร็จตามตายตัวค่ะ ขึ้นอยู่กับวิธีคิดของพ่อแม่ สังคมที่อยู่ เราเลยได้เห็นคำแนะนำประเภทเลี้ยงลูกสไตล์พ่อแม่ญี่ปุ่น พ่อแม่ฝรั่ง ให้อ่านเยอะมาก แต่รู้ไหมคะว่าการเลี้ยงลูกให้มีความสุขสไตล์พ่อแม่ไทยก็ได้ผลไม่แพ้ชาติไหนในโลกนะคะ

8 วิธีคิด เลี้ยงลูกให้มีความสุขฉบับพ่อแม่ไทย จะเลี้ยงลูกยุคไหนก็ได้ใช้ได้ผล

  1. โลกนี้ไม่มีความสมบูรณ์แบบ
    บ่อยครั้งที่เราเห็นหลายครอบครัวเลี้ยงลูกแบบเข้มงวด กดดัน อยากให้ลูกได้แต่สิ่งที่ดีที่สุดในชีวิต หรืออยากให้ลูกไปอยู่ในจุดสูงสุด ซึ่งในความเป็นจริงโลกนี้นไม่มีความสมบูรณ์แบบ มีแต่ความพอเหมาะ พอดี และเหมาะสม

    ดังนั้น พ่อแม่ควรปล่อยให้ลูกได้ผิดพลาดบ้าง ผ่อนคลายบ้าง ยืดหยุ่นไปตามสถานการณ์ จะช่วยให้ลูกรู้สึกเป็นอิสระในการคิดและเรียนรู้ เป็นตัวของตัวเอง และมีความคิดสร้างสรรค์มากขึ้น ซึ่งทำให้เขาแสดงความสามารถได้เต็มที่มากกว่าถูกบังคับค่ะ พ่อแม่เองก็มีความสุขที่ได้เห็นความสำเร็จของลูกไปทีละขั้นเช่นกัน

  2. รับรู้ ตั้งสติ รับฟัง
    เมื่อเกิดความผิดพลาดและรับรู้สิ่งที่เกิดขึ้น พ่อแม่ควรตั้งรับด้วยการตั้งสติค่ะ เพราะพบว่าหลายบ้านจะดุว่าลูกก่อนรับฟัง จนทำให้ลูกไม่กล้าพูดคุยด้วย ไม่กล้าเข้าหา ลุกลามไปจนถึงไม่กล้าทำอะไรอะไรเลยเพราะกลัวความผิดพลาด

    ดังนั้น เมื่อเกิดผิดพลาด ให้เริ่มจากการรับรู้ก่อนว่าเกิดเรื่องขึ้น จากนั้นตั้งสติ และเปิดโอกาสให้ลูกได้อธิบาย แสดงความรู้สึกอย่างเต็มที่ แล้วพ่อแม่ค่อยอธิบายเพิ่มเติม แนะนำแนวทางให้ลูกนำไปใช้แก้ไขหรือป้องกันปัญหา ซึ่งช่วยทำให้ลูกกล้าเข้าหาพ่อแม่ และแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดีขึ้นในครั้งต่อไป

  3. ทุกคนมีอิสระเสรีเท่ากันไม่ว่าจะอายุเท่าไหร่
    ทุกคนในบ้านสามารถคิด พูด แสดงออกในสิ่งที่ตัวเองชอบ ไม่ชอบได้อย่างอิสระ โดยทุกคนรับฟังกัน ยอบรับในกันและกัน สิ่งไหนดีก็ช่วยกันส่งเสริม สิ่งไหนไม่ควรก็ช่วยกันหาวิธีแก้ไข ปรับตัวไปด้วยกัน การให้อิสระและยอมรับกันจะทำให้มีความรู้สึกปลอดภัย ไว้ใจกันได้ค่ะ

  4. พูด-คุยกันได้
    หลายบ้าน พ่อแม่ลูกพูดคุยกันไม่ได้ ลูกพูดพ่อแม่ก็ดุ จนลูกเกิดความรู้สึกอย่าง เช่น กลัว ไม่ปลอดภัย ไม่มีที่พึ่ง เก็บกด เป็นต้น ดังนั้น การเลี้ยงลูกให้มีความสุข คุณพ่อคุณแม่จะต้องสร้างบรรยากาศให้บ้านเราพูดคุยกันได้ เช่น ถามเรื่องที่โรงเรียน ถามความชอบ ถามความรู้สึก โดยคุณพ่อคุณแม่รับฟังอย่างตั้งใจ ชื่นชม หรือแนะนำลูกได้ จะทำให้ลูกรู้สึกว่าพ่อแม่เป็นเซฟโซนที่เขาสามารถบอกเล่าเรื่องราวต่าง ๆ ได้โดยไม่ต้องกลัวอะไร

  5. ยอมรับในกันและกัน ยอมรับโลกที่เปลี่ยนแปลง
    ใจเขา ใจเรา นั่นเองค่ะ พ่อแม่เติบโตมาในครอบครัวและสังคมแบบหนึ่ง ลูกก็กำลังเติบโตในครอบครัวที่พ่อแม่ต้องช่วยกันประคับประคอง เพื่อให้ลูกอยู่เป็น อยู่รอดในโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว พ่อแม่ควรเปิดโอกาสให้ลูกได้แสดงออก และยอบรับในสิ่งที่ลูกคิด พูด เป็น ในขณะที่พ่อแม่จะทำหน้าที่เป็นผู้สนับสนุน และแนะนำแนวทางที่ถูกที่ควร โดยไม่บังคับ

  6. ปัญหาเกิดขึ้นได้ ช่วยกันแก้ได้
    หาเกิดปัญหากับลูก ลูกเผลอทำความผิดพลาด หรือทำไปโดยไม่รู้ถูกผิด สิ่งที่พ่อแม่ต้องทำคือ ให้โอกาสลูกได้อธิบายอย่างตรงไปตรงมา แล้วยอมรับให้ได้ว่าปัญหาเกิดขึ้นแล้ว สิ่งที่ต้องทำต่อไปคือ ช่วยกันแก้ปัญหา รวมทั้งหาวิธีรับมือ หลบเลี่ยง เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาเดิมซ้ำอีก ตำหนิกันได้ สอนกันได้ แต่ต้องช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปด้วยกัน

  7. ทุกคนมีข้อดี ข้อเสีย ยอมรับกันให้ได้เพื่อก้าวผ่าน
    ข้อนี้ใกล้เคียงกับการยอมรับความไม่สมบูรณ์แบบค่ะ ในแต่ละคนมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ลูกเราก็เช่นกัน เมื่อลูกมีทั้งข้อดีและข้อเสียในตัวเอง พ่อแม่ควรเปิดใจยอมรับ โดยเฉพาะข้อเสีย ซึ่งจริง ๆ แล้ว สามารถช่วยลูกปรับข้อเสียนั้นได้ เช่น ลูกโมโหร้าย พ่อแม่อาจช่วยลูกด้วยการชวนทำกิจกรรมที่ฝึกสมาธิ ควบคุมอารณ์ได้ เช่น งานศิลปะ ไปค่ายแคมป์ อ่านหนังสือที่ชอบ เป็นต้น

  8. ไว้วางใจกันและกัน
    ครอบครัวที่ไว้ในกันและกันได้ ลูกจะรู้สึกอบอุ่นหัวใจ ปลอดภัยค่ะ พ่อแม่ควรสร้างบรรยากาศที่ทำให้ลูกได้มีส่วนร่วมทั้งความคิด ความรู้สึก การแสดงออก การลงมือ ซึ่งจะทำให้ลูกเชื่อมั่นว่าคุณพ่อคุณแม่จะอยู่เสมอเมื่อเขาต้องการกำลังใจ ความรัก หรือที่พึ่งเมื่อเกิดปัญหา ดังนั้น พ่อแม่จะเป็นโซนที่ดีที่สุดของลูกค่ะ

 

รักลูก The Expert Talk EP.118 : Dysfunctional Family ครอบครัวบกพร่องหน้าที่ เลี้ยงลูกแบบขาดๆ เกินๆ

 

รักลูก The Expert Talk Ep.118 : Family Out จอ Gen กับอาจารย์ธาม เชื้อสถาปนศิริ ตอนที่ 1 Dysfunctional Family ครอบครัวบกพร่องหน้าที่ เลี้ยงลูกแบบขาด ๆ เกิน ๆ

เลี้ยงลูกแบบไหนให้รอด? พ่อแม่ต้องทำอย่างไร

“Dysfunctional Family” ครอบครัวบกพร่องหน้าที่ เลี้ยงลูกแบบขาดๆ เกินๆ

Dysfunctional Family คืออะไร ? เลี้ยงลูกแบบไหนเลี้ยงแบบขาดๆ เกินๆ ?

 

ชวนฟัง รักลูก Podcast กับอาจารย์ธาม เชื้อสถาปนศิริ

 

ติดตามรักลูก Podcast ได้ที่https://linktr.ee/rakluke  

รักลูก The Expert Talk EP.119 : เด็ก 6 แบบจากครอบครัว Dysfunctional Family

 

รักลูก The Expert Talk Ep.119 : Family Out จอ Gen กับอาจารย์ธาม เชื้อสถาปนศิริ ตอนที่ 2 เด็ก 6 แบบจากครอบครัว Dysfunctional Family

 

เลี้ยงลูกแบบใด ได้ลูกแบบนั้น

ฟังอาจารย์ธามพูดถึงเด็ก 6 แบบที่เกิดจากบ้านที่ Dysfunctional Family ลูกจะมีบุคลิคลักษณะแบบใดบ้าง? 

 

ชวนฟัง รักลูก Podcast กับอาจารย์ธาม เชื้อสถาปนศิริ

 

ติดตามรักลูก Podcast ได้ที่https://linktr.ee/rakluke  

รักลูก The Expert Talk EP.121 : How to be Functional Family เป็นพ่อแม่ไม่บกพร่องหน้าที่

 

รักลูก The Expert Talk Ep.121 : Family Out จอ Gen กับอาจารย์ธาม เชื้อสถาปนศิริ ตอนนี้ 3 How to be Functional Family เป็นพ่อแม่ไม่บกพร่องหน้าที่

 

AI แย่งงานคน มหาวิทยาลัยยกเลิกการสอนวิชา… เพราะโลกเปลี่ยนทุกวัน เราไม่สามารถคาดเดาถึงการเปลี่ยนแปลงนั้นได้ การเตรียมลูกให้พร้อมสำหรับอนาคตจึงเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญ

ฟัง The Expert อาจารย์ พญ.ลลิต ลีลาทิพย์กุล กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์วัยรุ่น คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บอกวิธีการเตรียมลูกให้พร้อมสำหรับอนาคตในทุกด้าน

พ่อแม่ต้องทำอย่างไรเพื่อให้ลูกสมองไวพร้อมได้ตั้งแต่วันนี้

 

รายการรักลูก The Expert Talk อาจารย์ พญ.ลลิต ลีลาทิพย์กุล

 

ติดตามรักลูก Podcast ได้ที่https://linktr.ee/rakluke  

รักลูก The Expert Talk EP.123 : “รู้เท่าทันสื่อ Digital Literacy”

 

รักลูก The Expert Talk Ep.123 : Family Out จอ Gen กับอาจารย์ธาม เชื้อสถาปนศิริ ตอนที่ 4 รู้เท่าทันสื่อ Digital Literacy

 

จากงานวิจัยพบว่า เด็กใช้สื่อหน้าจอดิจิทัลมากขึ้น โดยใช้ในช่วงอายุที่น้อยลง แต่ใช้งานมากขึ้นทั้งในเชิงปริมาณต่อวัน ต่อครั้งการใช้งานและความถี่

และไม่ได้พบเฉพาะปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเท่านั้น แต่พบว่าเด็กถูกล่อลวงหรือว่าไปเจอ Cybercrime อาชญากรรมทางไซเบอร์ พ่อแม่จะรับมือกับปัญหานี้ได้อย่างไร?

 

ฟังอาจารย์ธาม เชื้อสถาปนศิริ 

 

ติดตามรักลูก Podcast ได้ที่https://linktr.ee/rakluke 

รักลูก The Expert Talk EP.124 : “พ่อแม่ขาดทักษะการใช้สื่อ กระทบสมองลูก”

 

รักลูก The Expert Talk Ep.124 : Family Out จอ Gen กับอาจารย์ธาม เชื้อสถาปนศิริ ตอนที่ 5 พ่อแม่ขาดทักษะการใช้สื่อกระทบสมองลูก

 

งานวิจัยพบว่าเด็กที่ใช้สื่อเย็นเซลล์สมองจะเชื่อมต่อระหว่างเซลล์ได้มากกว่า

ขณะที่สื่อร้อนการเชื่อมต่อของเซลล์ที่ชั้นเปลือกสมองจะทําได้น้อย กระทบกับพัฒนาการของสมอง โดยเฉพาะทักษะสมอง EF

 

ไม่อยากให้ลูกติดจอ พ่อแม่ทำได้

ฟัง อาจารย์ธาม เชื้อสถาปนศิริบอกแนวทางการฝึกทักษะให้พ่อแม่มี Digital Literacy เพื่อรับมือและรู้เท่าทันก่อนสื่อหน้าจอจะทำลายสมองลูก

 

ติดตามรักลูก Podcast ได้ที่https://linktr.ee/rakluke 

รักลูก The Expert Talk EP.126 : Cybercrime รับมือได้ พ่อแม่ต้องเท่าทัน

 

รักลูก The Expert Talk Ep.126 : Family Out จอ Gen กับอาจารย์ธาม เชื้อสถาปนศิริ ตอนที่ 7 Cybercrime รับมือได้ พ่อแม่ต้องเท่าทัน

 

เมื่อลูกถูมิจฉาชีพหลอกลวง พ่อแม่จะช่วยลูกและรับมือกับสถานการณ์นี้อย่างไร ฟัง อาจารย์ธาม เชื้อสถาปนศิริ

 

 

ติดตามรักลูก Podcast ได้ที่https://linktr.ee/rakluke 

เลี้ยงลูกแบบเอาใจใส่ ปูทางคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น เอาตัวรอด และมีความสุข

 เอาใจใส่ลูก, วิธีเลี้ยงลูกที่ดีที่สุด, วิธีเลี้ยงลูกให้เป็นเด็กดี คนดี, พ่อแม่เอาใจใส่ลูก, ครอบครัวอบอุ่น, เลี้ยงลูกให้มีความสุข, แนวทางการเลี้ยงลูกที่ถูกต้อง, เลี้ยงลูกยังไงให้มีความสุข, ยุค สมัยนี้ ต้องเลี้ยงลูกยังไง, functional Family, dysfunctional family, ครอบครัวบกพร่องหน้าที่

เลี้ยงลูกแบบเอาใจใส่ ปูทางคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น เอาตัวรอด และมีความสุข

เป็นสไตล์การเลี้ยงดูที่สมดุลที่สุด ระหว่างความเข้มงวดกับความยืดหยุ่น พ่อแม่ที่ใช้สไตล์นี้จะ มีระเบียบวินัย แต่ก็เปิดใจรับฟังลูก และให้เหตุผลในการสอนเสมอ ส่งผลให้ลูกเติบโตอย่างมั่นใจ มีความรับผิดชอบ และสามารถพัฒนาตัวเองได้ดี

ลักษณะการเลี้ยงแบบเอาใจใส่

  1. มีกฎเกณฑ์ที่ชัดเจนและมีเหตุผล
    พ่อแม่กำหนดกฎระเบียบที่เหมาะสม และอธิบายเหตุผลให้ลูกเข้าใจ

  2. ส่งเสริมความเป็นอิสระ แต่ยังคงมีขอบเขต
    เปิดโอกาสให้ลูกได้คิดและตัดสินใจเองภายในกรอบที่เหมาะสม

  3. ใช้การสื่อสารที่ดี
    พ่อแม่รับฟังความคิดเห็นของลูก ไม่ใช่แค่สั่งให้ทำตาม

  4. ให้ความรักและการสนับสนุน
    พ่อแม่แสดงความรักและให้กำลังใจลูกเสมอ

  5. สอนด้วยเหตุผลมากกว่าการลงโทษรุนแรง
    หากลูกทำผิด จะมีการอธิบายและช่วยให้ลูกเรียนรู้จากความผิดพลาด
Mange mænd oplever udfordringer med erektil dysfunktion, og behovet for en effektiv behandling har aldrig været større. I takt med at flere søger diskrete og hurtige løsninger, er der opstået en stigende interesse for generiske alternativer til de klassiske potensmidler. Cenforce er en af de mest populære generiske versioner af Viagra, og det anvendes af mænd over hele verden, der ønsker en pålidelig løsning til at forbedre deres seksuelle præstation. Fordelen ved at vælge et generisk produkt er, at det indeholder den samme aktive ingrediens som originalen, men ofte kan købes til en lavere pris. For dem, der søger en hurtig og sikker løsning, er det muligt at køb Cenforce i Danmark på apoteket, hvilket giver mulighed for at få adgang til medicinen uden lange ventetider og unødige besværligheder. Mange vælger at handle online for at sikre sig en hurtig og diskret levering direkte til døren, hvilket gør processen langt mere bekvem end traditionelle apoteksbesøg.

 

ข้อดีของการเลี้ยงลูกแบบเอาใจใส่

⭐ มีความมั่นใจในตัวเอง เพราะได้รับการสนับสนุนจากพ่อแม่

⭐ มีวินัยและความรับผิดชอบ เพราะพ่อแม่สอนให้รู้จักหน้าที่และผลของการกระทำ

⭐ มีทักษะการแก้ปัญหาและตัดสินใจ เพราะพ่อแม่เปิดโอกาสให้ลูกคิดและเลือกเอง

⭐ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น เพราะเติบโตมาในสิ่งแวดล้อมที่เปิดกว้างและอบอุ่น

⭐ ประสบความสำเร็จในชีวิต งานวิจัยพบว่าลูกที่ถูกเลี้ยงดูแบบนี้มักมีผลการเรียนดีและมีสุขภาพจิตที่แข็งแรง

 

วิธีเลี้ยงลูกแบบเอาใจใส่

  1. สร้างกฎเกณฑ์ที่ชัดเจน แต่ต้องสมเหตุสมผลและอธิบายให้ลูกเข้าใจ

  2. เปิดโอกาสให้ลูกแสดงความคิดเห็น และสอนให้คิดอย่างมีเหตุผล

  3. ใช้การพูดคุยและให้กำลังใจแทนการลงโทษรุนแรง

  4. ให้ความรักและสนับสนุนลูกเสมอ ไม่ใช่แค่ในเรื่องการเรียน แต่รวมถึงด้านอารมณ์ด้วย 

  5. เป็นตัวอย่างที่ดีให้ลูกเห็น เพราะเด็กเรียนรู้จากการกระทำของพ่อแม่มากกว่าคำพูด

Authoritative Parenting = ความรัก + ระเบียบวินัย + การสื่อสารที่ดี พ่อแม่ที่เลี้ยงลูกแบบนี้จะช่วยให้ลูกเติบโตมาเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ และสามารถดูแลตัวเองได้ในอนาคต

 

Ett av de mest underskattade problemen inom manlig sexualitet är för tidig utlösning, vilket kan påverka både självförtroendet och relationen med partnern. Många tror att detta är något som inte kan behandlas, men det finns effektiva läkemedel som hjälper till att förlänga samlagets varaktighet och förbättra kontrollen. Ett av de bästa alternativen på marknaden är att köpa Priligy online, ett läkemedel som är speciellt utvecklat för att motverka för tidig utlösning och ge bättre uthållighet. Genom att använda detta kan män känna sig tryggare och mer avslappnade i sin intimitet, vilket leder till en mer tillfredsställande upplevelse för båda parter. Tack vare onlinebeställning slipper du långa apoteksbesök och får istället din behandling levererad direkt hem på ett snabbt och diskret sätt.

อ่านต่อ การเลี้ยงลูก 4 รูปแบบ

  1. ทราบแล้วเปลี่ยน! การเลี้ยงลูก 4 สไตล์ที่ส่งผลถึงวิธีคิดและกำหนดอนาคตของลูก

  2. เลี้ยงลูกแบบปล่อยปละ ละเลย ทอดทิ้ง ทำลูกเรียนแย่ มีพฤติกรรมเสพติด

  3. เลี้ยงลูกแบบเผด็จการ เข้มงวด ทำลูกผวากลัวผิด หวาดระแวง มีแนวโน้มซึมเศร้า

  4. ลูกแบบตามใจ สปอยล์ลูก ทำลูกแก้ปัญหาเองไม่ได้ อนาคตอาจเอาตัวไม่รอด

  5. เลี้ยงลูกแบบเอาใจใส่ ปูทางคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น เอาตัวรอด และมีความสุข